การสร้างฟังก์ชัน


หน้าแรก PHP MySQL เกร็ดความรู้ การสร้างฟังก์ชัน

         การประกาศฟังก์ชันมีรูปแบบดังนี้

การประกาศฟังก์ชัน

          FUNCTION ใช้ในการเขียนชุดคำสั่งเอาไว้เรียกใช้
โดยการประกาศฟังก์ชันมีรูปแบบดังนี้
function functionname([argument1,argument2,..]) { command; }
functionname เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นสำหรับเรียกใช้ฟังก์ชัน
argument1,argument2,… ตัวแปรชนิดต่าง ๆ ใช้สำหรับรับข้อมูลเข้ามาประมวลผล และส่งกลับไป
command คำสั่งภายในฟังก์ชัน

ตัวอย่างการเขียนชุดคำสั่งไว้เรียกใช้งาน

<?php
function multi($a,$b){
require $a * $b;
}

echo multi(10*20); //การเรียกใช้งาน
?>

จะเห็นได้ว่าเรามีการสร้างฟังก์ชัน ชื่อ multi ไว้สำหรับคูณตัวเลข 2 จำนวนเข้าด้วยกัน

การกำหนดค่าดีฟอลต์ของฟังก์ชัน

          เราสามารถกำหนดค่า default ของ argument ในฟังก์ชันได้ด้วย วิธีการใช้
function([argument1=default,argument2=default,..]) { command ;}

<?php
function a_add_b($numa=1,$numb=2)
{ $sumofab=$numa+$numb;
return $sumofab;
}

$numa=5;
$numb=10;
echo “ผลรวมของ $numa และ $numb คือ “.a_add_b($numa,$numb).” <br>n”;
echo “หากไม่ส่งค่าไปในฟังก์ชันจะได้ผลลัพธ์เป็น “.a_add_b().” <br>n”;
?>

ขอบเขตของตัวแปร

          ปกติแล้วตัวแปรที่ประกาศไว้ภายในกับภายนอกฟังก์ชันจะมีข้อมูลที่แตกต่าง ถึงแม้ว่าจะมีชื่อเหมือนกัน
เพราะ php ถือว่าเป็นตัวแปรคนละตัวกัน และตำแหน่งในหน่วยความจำคนละที่กัน

แต่เราสามารถทำให้ตัวแปรนั้น ๆ เป็นตัวเดียวกันได้โดยการประกาศ
global var1,var2,var…; ไว้ในฟังก์ชัน

<?php
function sumofab($numa,$numb)

{ global $numa,$numb;
$sumab2=$numa+$numb;
$numa = $numa+5;
$numb = $numb+5;
return $sumab2;
}

$numa=3;
$numb=2;
echo ” $numa มีค่า คือ $numa <br>n”;
echo ” $numb มีค่า คือ $numb <br>n”;
echo “ผลรวมของ $numa=$numa กับ $numb=$numb คือ “.sumofab($numa,$numb).”
n”;
echo “ค่าของ $numa หลังจากใช้ฟังก์ชันคือ $numa <br>n”;
echo “ค่าของ $numb หลังจากใช้ฟังก์ชันคือ $numb <br>n”;
?>

ซึ่งการทำวิธีนี้ทำให้ตัวแปรทั้งภายในและภายนอกฟังก์ชันเป็นตัวเดียวกัน



ขึ้นไปด้านบน